LEADER : 00000nam 2200000uu 4500 |
008 160920s2559 th 000 0 tha d |
020 ^a9786167213675 (pbk.)
|
050 4 ^aHD60^bส358 2559
|
100 0 ^aสฤณี อาชวานันทกุล
|
245 00 ^aรายงานการศึกษาวิจัย มาตรฐานสากลในการดำเนินธุรกิจเพื่อการเคารพสิทธิมนุษยชน /^cสฤณี อาชวานันทกุล, หัวหน้าโครงการวิจัย ; สุณีย์ ม่วงเจริญ, ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์, ธัญธิดา สาสุนทร, นักวิจัย ; พิภพ อุดร, ประธานโครงการวิจัย
|
246 30 ^aมาตรฐานสากลในการดำเนินธุรกิจเพื่อการเคารพสิทธิมนุษยชน
|
260 ^aกรุงเทพฯ :^bสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ^c2559.
|
300 ^a128 หน้า :^bภาพประกอบ ;^c30 ซม.
|
500 ^aจัดทำโดย สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ; คณะผู้วิจัย ประกอบด้วย รศ.ดร.พิภพ อุดร, ประธานโครงการวิจัย, นางสาวสฤนี อาชวนันทกุล, หัวหน้าโครงการวิจัย, นางสาวสุณีย์ ม่วงเจริญ, นักวิจัย, นางสาวธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์, นักวิจัย, นางสาวธัญธิดา สาสุนทร, นักวิจัย
|
505 0 ^aบทนำ --^tมาตรฐานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของภาคธุรกิจ --^tการบังคับใช้มาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชนในธุรกิจไทย --^tข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย.
|
520 ^aด้วยแนวโน้มของสังคมโลกที่ให้ความสำคัญกับภาคเอกชนที่จะต้องดำเนินธุรกิจโดยการเคารพสิทธิมนุษยชนเพิ่มสูงขึ้นอย่างชัดเจน ซึ่งปัจจุบันภาคเอกชนได้ให้ความสำคัญกับเรื่องการบริหารกิจการที่ดี (Corporate Governance- CG) และความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม (Corporate Social Responsibility - CSR) มากขึ้น โดยเรื่องดังกล่าวได้กลายเป็นประเด็นสำคัญต่อความยั่งยืนของสังคมและของภาคเอกชนในการดำเนินธุรกิจและเป็นเงื่อนไขในการกำกับดูแล กิจการสำหรับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างไรก็ตามถึงแม้จะมีกรอบแนวปฏิบัติด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ทั้งในระดับนานาชาติและภายในประเทศ แต่ยังพบว่า ภาคเอกชน จำนวนมากยังประกอบกิจการที่อาจละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งสาเหตุสำคัญประการหนึ่งเกิดจากมาตรฐานและแนวปฏิบัติระหว่างประเทศ ต่างๆ นั้น ไม่มีสภาพบังคับแต่เป็นมาตรการในเชิงสมัครใจ ดังนั้น เพื่อให้องค์กรมีองค์ความรู้สำหรับใช้เป็นแนวทางเผยแพร่และรณรงค์ให้ภาคเอกชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตระหนักถึงความสำคัญของการเคารพสิทธิมนุษยชนในการดำเนินธุรกิจของภาคเอกชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจึงร่วมกับสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(สว.มธ.) ดำเนินการ ศึกษาวิจัยเพื่อศึกษามาตรฐานสากลทางจริยธรรมของการประกอบธุรกิจที่จัดทำ โดยองค์การระหว่างประเทศ และที่ได้รับการยอมรับหรือได้รับการรับรองจากรัฐบาลและภาคเอกชนของประเทศทั่วโลกจำนวน 8 มาตรฐาน อันเป็นการสะท้อนคุณค่าร่วมกันในระดับนานาชาติที่ต้องการให้ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมการเคารพ สิทธิมนุษยชน อย่างไรก็ดีนอกจากมาตรฐานสากลทั้ง 8 มาตรฐานแล้ว รายงานการศึกษาวิจัยนี้ยังกล่าวถึงสภาพปัญหาจากการใช้มาตรฐาน และกรณีศึกษาต่างๆ อันจะทำให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ดียิ่งขึ้น.
|
536 ^aจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคา ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ; จำนวนเงินตามสัญญาจ้าง 782,000 บาท ; ระยะเวลาดำเนินงาน 120 วัน
|
610 24 ^aคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
|
610 24 ^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ^xวิจัย
|
610 24 ^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ^xรายงานการวิจัย
|
650 4 ^aสิทธิมนุษยชน^zไทย
|
650 4 ^aสิทธิมนุษยชน^xธุรกิจ
|
650 4 ^aสิทธิมนุษยชน^xการคุ้มครอง
|
650 4 ^aความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ
|
653 4 ^aธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
|
653 4 ^aสิทธิมนุษยชนสำหรับธุรกิจ
|
695 ^aBrochure001-3
|
700 0 ^aธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์
|
710 2 ^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. ^bสำนักวิจัยและวิชาการ
|
710 1 ^aสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
|
856 40 ^zE-book^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/ebook/E09042/ebook.html
|
856 40 ^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Fulltext/F09042.pdf
|
856 40 ^zบทสรุปผู้บริหาร^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Summary/S09042.pdf
|
856 40 ^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T09042.pdf
|
917 ^aNHRC :^c500
|
955 ^a5 เล่ม
|
999 ^anopparat
|