LEADER : 00000nam 2200000uu 4500 |
008 201130s2563||||th a 000 0 tha d |
050 4 ^aKPT4711.C66^bร451 2563
|
245 00 ^aรายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การบริหารจัดการด้านกฎหมายในกรณีที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเห็นสมควรดำเนินการไกล่เกลี่ย ประนีประนอมข้อพิพาทในด้านสิทธิมนุษยชน ของคณะกรรมาธิการกิจการองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ วุฒิสภา /^cสำนักกรรมาธิการ 2 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
|
260 ^aกรุงเทพฯ :^bสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, ^c2563.
|
300 ^a124 หน้า ;^c30 ซม.
|
490 0 ^aเอกสารวิชาการฉบับที่ 22
|
520 3 ^aคณะอนุกรรมาธิการได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนนั้นหากกรณีใดที่สามารถดำเนินการไกล่เกลี่ยโดยเฉพาะข้อพิพาททางแพ่งเพื่อยุติข้อพิพาทได้ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติก็ควรจะดำเนินการไกล่เกลี่ย เพราะการยุติข้อพิพาทด้วยวิธีการไกล่เกลี่ยนั้น ทำให้ข้อพิพาทยุติลงด้วยความพึงพอใจของทั้งสองฝ่าย ซึ่งกระบวนการไกล่เกลี่ย เป็นกระบวนการยุติหรือระงับข้อพิพาทด้วยความตกลงยินยอมของคู่กรณีเอง โดยที่มีบุคคลที่สามมาเป็นคนกลางคอยช่วยเหลือแนะนำ เสนอแนะหาทางออกในการยุติหรือระงับข้อพิพาทให้คู่กรณีต่อรองกันได้สำเร็จ ซึ่งการไกล่เกลี่ยหรือประนอมข้อพิพาทเป็นกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ที่มีข้อดีหลายประการ เช่น สะดวก รวดเร็ว ประหยัดค่าใช้จ่าย รักษาสัมพันธภาพระหว่างคู่กรณี สร้างความพึงพอใจให้แก่คู่กรณี รักษาชื่อเสียงและรักษาความลับของคู่กรณีสร้างความสงบให้แก่ชุมชน ลดปริมาณคดีสู่ศาล เป็นต้น
|
610 24 ^aคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
|
650 4 ^aการไกล่เกลี่ย^zไทย
|
650 4 ^aกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
|
650 4 ^aการระงับข้อพิพาท (กฎหมาย)^zไทย
|
650 4 ^aสิทธิมนุษยชน
|
710 1 ^aสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.^bสำนักกรรมาธิการ 2
|
856 40 ^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T12302.pdf
|
917 ^aGift :^c500
|
955 ^a5 เล่ม
|
999 ^aSaithip
|